จากความเดิมตอนที่แล้ว เราได้ใช้โปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis 2020 เลือกหน้าตัดที่เหมาะสมมาให้ตาม Group ที่ผู้ออกแบบกำหนดเอง ในบทความนี้เราจะมาทำงานต่อคือเมื่อผู้ออกแบบได้ทำการวิเคราะห์ออกแบบโครงสร้างเหล็กเสร็จแล้ว
จากความเดิมตอนที่แล้ว เราได้ใช้โปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis 2020 ตรวจสอบว่าโครงสร้างเหล็กที่เราโมเดลเข้าไปนั้นสามารถรับแรงได้หรือไม่ ในบทความตอนนี้เราจะให้โปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis 2020 เลือกหน้าตัดที่เหมาะสมมาให้ผู้ออกแบบ
จากความเดิมตอนที่เราได้ทำการออกแบบจุดต่อ (Steel Connection) ในโปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis Professional 2020 ไปแล้ว ในตอนนี้เราจะมาออกแบบชิ้นส่วนหลักคือ เสา คาน เหล็ก โดยจะมีการออกแบบและตรวจสอบโครงสร้างเหล็กอยู่สอง วิธีคือ
จากความเดิมตอนที่เราได้ทำการกำหนดค่าในโปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis Professional 2020 เพื่อให้เวลาเราวิเคราะห์โครงสร้างออกมาแล้วได้ค่าแรงที่ถูกต้องตามสมมุติฐานของผู้ออกแบบ ในตอนนี้เราจะเริ่มออกแบบจุดต่อ (Steel Connection)
จากตอนที่แล้ว เรากล่าวถึงการวิเคราะห์โครงสร้างเหล็กโดยใช้โปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis Professional 2020 สำหรับการหาค่าแรงในการออกแบบจุดต่อ (Steel Connection) แบบ Moment Connection ว่าต้องมีการกำหนดค่าอย่างไร
จากตอนที่แล้วเรากล่าวถึงว่าเราจะออกแบบจุดต่อโครงสร้างเหล็ก (Steel Connection) โดยใช้โปรแกรม Autodesk Robot Structural Analysis Professional 2020 ต้องมีสมมุติฐานที่ถูกต้องก่อน บทความนี้เราจะกล่าวถึงวิธีการโมเดลโครงสร้างให้เหมาะสมกับ จุดต่อประเภทต่าง ๆ เช่นตอนนี้เราต้องการออกแบบจุดต่อเป็นแบบ Moment Connection หรือ Shear Connection
การวิเคราะห์ออกแบบโครงสร้างเหล็กนั้น ในปัจจุบันจะมีโปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้างหลากหลายโปรแกรมซึ่ง Autodesk Robot 2020 เป็นอีกโปรแกรมหนึ่งที่สามารถทำได้ และทำได้ดีมาก เราคงไม่ต้องกล่าวถึงฟังก์ชันการออกแบบเพราะแทบจะทุกโปรแกรมสามารถทำได้เหมือนกันหมด แต่ในบทความนี้เราจะเน้นไปที่ "การจำลองโมเดลตามสมมุติฐาน"